ที่วัดชนาธิปเฉลิม พระอารามหลวง ต.พิมาน อ.เมือง จ.สตูล พระครูสุนทรธรรมนิเทศก์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดชนาธิปเฉลิม ระบุว่า ทางวัดได้มีมติเมื่อปี 2559 ในการงดเผาขยะธรรมชาติ เพื่อแก้ปัญหามลพิษ ที่จะส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมภายในวัด สถานศึกษาและชุมชนใกล้เคียง โดยการนำขยะธรรมชาติมาแปรรูปเป็นปุ๋ยหมัก ที่เหลือนำไปแจกจ่ายญาติโยม โดยวงจรในการดูแลรักษาอาหารบิณฑบาตของทางวัด หลังฉันท์เสร็จแล้ว ญาติโยม เหลือให้ สุนัข แมว นก จะนำเศษอาหารเหลือมาหมักรวมกับใบไม้ป่นเข้าโรงปุ๋ย ซึ่งมีขั้นตอนอธิบายไว้พร้อมสรรพสำหรับญาติ โยมชาวบ้านในชุมชนใกล้และไกลมาศึกษาดูงานยัง “ศูนย์เรียนรู้ระบบสุขภาพตามวิถีชุมชน” (การแปรรูปขยะธรรมชาติ) ที่มีการจัดการขยะภายในวัดอย่างเป็นระบบ ก่อนคืนสู่ชุมชน ญาติโยมในรูปของปุ๋ยเพื่อไปรดน้ำผัก และผลผลิต นอกจากนี้ทางวัดชนาธิปเฉลิม ยังเปิดพื้นที่วัดที่ว่างเปล่ามาเป็น “แหล่งเรียนรู้การใช้ หลักธรรมในการดำรงชีพ ตามศาสตร์พระราชา” โดยแปลงเรียนรู้ในนี้จะปลูกผักสวนครัวหมุนเวียนไว้เพื่อรับประทาน อาทิ มะระ มะนาว และมะเขือ ผักบุ้งและผักคะน้า ให้ญาติโยมที่มาปฏิบัติธรรมที่วัดและชุมชนใกล้วัดได้นำกลับไปรับประทานกันด้วย นอกจากนี้ยังมีพืชกลุ่มสมุนไพร ทำยา ก็มีการปลูกไว้เพื่อแปรรูปเป็นยาฉีดกันยุง จากตะไคร้หอม หรือการทำแอลกอฮอล์ล้างมือจากตะไคร้หอม เพื่อแจกจ่ายในวันสำคัญทางพุทธศาสนาบริการญาติโยมที่มาวัด ทำให้ที่วัดแห่งนี้ไม่ได้เป็นเพียงที่ปฏิบัติธรรมและประกอบศาสนากิจทางศาสนาเพียงอย่างเดียว ที่วัดชนาธิปเฉลิมยังเป็นแหล่งเรียนรู้การบริหารจัดการขยะ การปลูกพืชผักสวนครัวและสวนสมุนไพร ไปพร้อมกับการดูแลแจกจ่ายให้ญาติโยมได้ทานผักที่ปลอดสารพิษ โดยมีชุมชนมาร่วมกันดูแล พระครูสุนทรธรรมนิเทศก์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดชนาธิปเฉลิม กล่าวว่า พร้อมกันนี้ทางวัดได้จัดทำแปลงปลูกพืชผัก ปลอดสารพิษเพื่อทดสอบคุณภาพปุ๋ยมอบให้ชุมชนดูแล เพื่อส่งเสริมการใช้หลักธรรมในการทำงาน และให้ความรู้ด้านการผลิตพืชผลปลอดสารพิษ นำไปบริโภค ในครัวเรือน และบรอการสมาชิกชุสชนเป็ฯรายได้เสริม โดยมีแปลงสาธิตภายในวัดและในพื้นที่ของชุชนพ่รอมสนรับสนุนทุนในการจัดการ ปัจจุบันกิจกรรมการแปรรุปขยะธรรมชาติพัฒนาเป็นโรงผลิตชีวิภัฑณ์ขนาดย่อม สมาชิกชุจเข้ารับการเรียนรู้วิธผลิตปุ๋ยชีวิตภาพไว้ใช้เอง ประกอบด้วย ปุ๋ยหมัก คุณภาพสูง ดินปลูก หัวเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆรวมทั้งชีวภัณฑ์ป้องกันโรคและศัตรูพืชปลอดสารพิษด้วยัตถุดิบชีววิถีเรียนรู้ที่ใช้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตตามหลักพระราชา ตรงจุดนี้เจ้าอาวาสรูปพระธรรมพี่โมรถ ใช้พื้นที่ตรงนี้ที่ว่างเปล่า รู้จัดสรรให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ดำเนินชีวิตตามศาสตร์พระราชายา เศรษฐกิจ พอเที่ยง ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม อีกหนึ่งคือวัดได้กลายเป็นแหล่งสะสมขยะ ไม่สามารถได้ โดยทางให้สบานเมืองสตูลเองก็มีความกังวลในเรื่องของการขนย้าย จึงเกิดแนวคิดแปรรูปให้เป็นปุ๋ย ร้องกันนี้ได้มีแปลงทดลองนำรูปนำผักมาปลูก เกิดผลผลิตเป็นที่พอใจ สวนครัวแล้วนอกจากพืชผักสวนครัวแล้วยังมีสมุนไพรหลากหลายชนิด ให้ชุมชนได้ศึกษาและเป็นแหล่งเรียนรู้ หากเรานี้ญาติโยมก็สามารถมาเก็บไปได้โดยไม่ต้องซื้อ ทางวัดก็แบ่งปันให้กับญาติโยมที่ขาดแคน รซึ่งปลอดสารพิษด้วย รงการดังกล่าวเป็นการทำร่วมกันระหว่างวัดและชุมชนโดยมีชุมชนเป็นผู้ดูแล นางวิไลลักษณ์ ผ่องช่วย ข้าราชการบำนาญ สมาชิกในวัดช่วยดูแลแปลงผักสมุนไพร กล่าวว่า ในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของวัดก็ได้รับมอบหมายให้มาดูแล ไม่ว่าจะเป็นขนาผักบุ้งคะน้า ที่ดูแลในการลูกและรถน้ำรถน้ำ ใส่ปุ๋ยและควรดินรวนดิน ก็จะดำผลิตไปแจกจ่ายให้กับคนที่ต้องการหรือแคลน. โครงการดังกล่าวมีประโยชน์มากนอกจากจะได้รับประทานผักไม่มีสารพิษแล้วยังได้ผักไปกินโดยไม่ต้องเสียงเงิน ซอยสภาวะโควิชแบบนี้อยู่ในรอบบริเวณวัดจะได้รับผักสวนครัวนี้ไปรับประทาน ประกอบอาหารดำรงชีพได้. ทั้งยังเป็นแหล่งเรียนรู้และคนทั่วไปด้วย จันทนา กูรีกัน//สตูล